top of page

รศ.ดร.สกนธ์ คล่องบุญจิต


รศ.ดร.สกนธ์ คล่องบุญจิต

Assoc.Prof.Dr. Sakon Klongboonjit

Education

· Ph.D. (Mechanical Engineering)

University of Southern California, USA

· M.S. (Mechanical Engineering)

University of Southern California, USA

· M.S. (Computer and Engineering Management) Outstanding Award Assumption University, Thailand

· วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) เกียรตินิยมอันดับสอง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Research Interest

· Computer Simulation

· Renewable Energy

Contact

โทรศัพท์: 02-329-8339 ต่อ 227

E-mail: sklongboonjit@hotmail.com

Publications

[1] เฉลิมชาติ มานพ นิรุธ จิรสุวรรณกุล และสกนธ์ คล่องบุญจิต, “ การพัฒนามิเตอร์และระบบการจัดการน้ำบาดาลแบบสมองกลฝังตัวร่วมกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ทำงานบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต,” วรสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มี.ค. 2561, หน้า 51 - 61

[2] สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การประมาณค่าอุณหภูมิของแผ่นบาง 1 มิติ ด้วยการนำความร้อน ศึกษาผลกระทบจากอุณหภูมิที่ขอบเปลี่ยนแปลงแบบสเต็ปฟังก์ชั่น (Temperature Estimation for Heat Conduction in a 1-D Thin Plate: Study of the Effect of Boundary Temperature Changing with a Step Function),” วิศวสารลาดกระบัง, มีนาคม 2561 (1), หน้า 1 – 7

[3] สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การเลือกทำเลที่ตั้งของโรงงานด้วยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์,” วารสารรัชต์ภาคย์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 25 ม.ค. - เม.ย. 2561, หน้า 234 - 245

[4] Tanongsak Kongsin and Sakon Klongboonjit, “Machine Components Clustering with DSM and Repeating Method: Case Study of a Soil Mixing Machine,” The 4th International Conference on Engineering: Applied Sciences and Technology, July 2018, pp. 570-573.

[5] นูรีน ทรงศิริ และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของธุรกิจโรงแรม กรณีศึกษาโรงแรมขนาดใหญ่ (Carbon Footprint for Hotel Company: A Case Study of Luxury Hotel),” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2561, 23-26 กรกฎาคม 2561, หน้า 1037 – 1042

[6] อัจฉรา วุฒิกาญจน์ และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การบำบัดอากาศเสียด้วยระบบไบโอสครับเบอร์ กรณีศึกษาโรงงานผลิตถังไฟเบอร์กล๊าส (Air Pollution Treatment with Bio Scrubber System: In Case Study of Fiber Glass Tank Product Industry),” การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 26 บูรณาการงานวิจัยเพื่อสังคม, 26-29 พฤษภาคม 2559, หน้า 288-294

[7] จิกานต์ทิพย์ แก้วประดิษฐ์ และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ระบบนํ้าร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ กรณีศึกษาโรงพยาบาลขนาด 310 เตียง (Feasibility Study of Efficiency Improvement for Solar Hot Water System: Case Study of 310-Bed Hospital),” วิศวสารลาดกระบัง, ธันวาคม 2556 (4), หน้า 25 - 30

[8] พงษ์สธร พันธุ์วรรณะ และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การเพิ่มค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรภายในโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิค (TPM Overall Equipment Effectiveness Improvement in Auto Part Industry with Application of TPM),” วิศวสารลาดกระบัง, ธันวาคม 2556 (4), หน้า 19 – 24

[9] กิตกมล ลำจวน และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับการจัดตารางการผลิตใน แผนกปั๊มขึ้นรูปโลหะแผ่น กรณีศึกษาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (Decision Support System Development for Production Scheduling in Sheet Metal Stamping Shop: A Case Study of an Automotive Parts Industry),” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำ ปี พ.ศ. 2556, 16-18 ตุลาคม 2556 พัทยา ชลบุรี, หน้า 131 – 137

[10] ปภสร รัตศุภาวงศ์ และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กรณีศึกษาโณงงานผลิตสายไฟรถยนต์ (Feasibility Study of Solar Electric Power System: A Case Study of Automotive Wire Factory),” วิศวสารลาดกระบัง, มีนาคม 2556 (1), หน้า 37 – 42

[11] สิรณัฐ โกมลมิศร์ และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ชุดผลิตกระแสไฟฟ้าแบบกังหันลมสำหรับครัวเรือน (Feasibility Study of Wind Turbine Electric Generator for Household),” วิศวสารลาดกระบัง, มีนาคม 2556 (1), หน้า 31 - 36

[12] จิณาภา แซ่เหีย และ สกนธ์ คล่องบุญจิต, “การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำพลังงานความร้อนสูญเสียของหม้อไอน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยชุดแลกเปลี่ยนความร้อน กรณีศึกษาโรงงานทูน่ากระป๋อง (Feasibility Study of Heat Recovery for Boiler with Heat Exchanger Case Study of Tuna Canned Factory),” วิศวสารลาดกระบัง, ธันวาคม 2555 (4), หน้า 55 – 60

[13] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2553. กลศาสตร์วิศวกรรม (ภาคสถิตศาสตร์), พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร, แผนกตำรา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

[14] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2553. “ผลของปรากฏการณ์การกองตัวกันต่อการเคลื่อนที่ของเม็ดวัสดุบนผิวอิสระขณะเกิดปรากฏการณ์การหมุนวนของระบบวัสดุเม็ดกลมเชิง 2 มิติ ภายใต้การสั่นแนวดิ่ง (Effect of the Heaping on the Particle Movement on the Free Surface during Convection of 2-D Granular Material System under Vertically Vibration)”, วิศวสารลาดกระบัง, ธันวาคม 2553 (4), หน้า 31 – 36

[15] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2552. ความรู้พื้นฐานระบบน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ในงานอุตสาหกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร, แผนกตำรา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

[16] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2552. “แรงกดที่ผนังด้านข้างภาชนะของระบบวัสดุเม็ดกลมเชิง 2 มิติ ภายใต้การสั่นแนวดิ่ง (The Compression Force at Sidewalls of Container of 2-D Granular Material Under Vertically Vibration),” วิศวสารลาดกระบัง, มิถุนายน 2552 (2), หน้า 55 – 60

[17] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2552. “การศึกษาอิทธิพลของปรากฏการณ์การหมุนวนกับการผสมกันของระบบวัสดุเม็ดกลมในภาชนะบรรจุเชิง 2 มิติ ด้วยเทคนิคการจำลองเหตุการณ์แบบวัสดุเม็ดนิ่ม (Study the Effect of Convection Phenomenon on the Mixing of Granular Materials in 2-D Container with Soft – Particle Method)”, วิศวสารลาดกระบัง, ธันวาคม 2552 (4), หน้า 31 – 36

[18] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2551. “ปรากฎการณ์การกองตัวกันของวัสดุเม็ดกลมเชิง 2 มิติภายใต้การสั่นแนวดิ่ง (The Heaping Phenomenon of 2-D Granular Material under Vertical Vibration)”, วิศวสารลาดกระบัง, มิถุนายน 2551 (2), หน้า 47 - 52

[19] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2550. “ปรากฎการณ์การเคลื่อนที่วนของวัสดุเม็ดเล็กภายใต้การสั่นแนวดิ่ง (The Convection Phenomenon of 2-D Granular Material under Vertical Vibration)”, วิศวสารลาดกระบัง, มิถุนายน 2550 (2), หน้า 67 - 72

[20] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2549. “การควบคุมระบบสั่นสะเทือนบนชั้นเก็บวัสดุในโรงงานอุตสาหกรรมด้วยวิธีใช้แรงบังคับ”, วิศวสารลาดกระบัง, มิถุนายน 2549 (2), หน้า 7 – 12

[21] สกนธ์ คล่องบุญจิต, อุดม จันทร์จรัสสุข และ เอกพจน์ ตันตราภิวัฒน์. 2542. “การประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการเลือกทำเลที่ตั้งของกิจการ”, Proceedings of the 1999 IE Network National Conference, October 28-29, หน้า 181-192

[22] รศ. ดร. สกนธ์ คล่องบุญจิต, กลศาสตร์วิศวกรรม (ภาคสถิตศาสตร์), พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร, แผนกตำรา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2558

[23] ผศ. ดร. สกนธ์ คล่องบุญจิต, กลศาสตร์วัสดุ, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร, แผนกตำรา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2557

[24] ผศ. ดร. สกนธ์ คล่องบุญจิต, ความรู้พื้นฐานระบบน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ในงานอุตสาหกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร, แผนกตำรา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2552

[25] สกนธ์ คล่องบุญจิต. 2549. เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร, แผนกตำรา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2549

[26] Pornpimol Sugandhavanija, Sukruedee Sukchai, Nipon Ketjoy and Sakol Klongboonjit, “Deficiencies of University-Industry Joint Research for Photovoltaic Technology Transfer in Thailand,” International Journal of Renewable Energy, January – June 2010 (5) 43-55.

[27] Pornpimol Sugandhavanija, Sukruedee Sukchai, Nipon Ketjoy and Sakol Klongboonjit, “ Determination of Effective University Industry Joint Research For Photovoltaic Technology Transfer (UIJRPTT) in Thailand,” Renewable Energy 2011 (36) 600-607.

[28] Sakon Klongboonjit and Charles S. Campbell. 2008. “Convection in deep vertically shaken particle beds. I. General features”, Physics of fluids, October 2008 (20), 103301.

[29] Sakon Klongboonjit and Charles S. Campbell. 2008. “Convection in deep vertically shaken particle beds. II. The relationship between convection and internal wave propagation”, Physics of fluids, October 2008 (20), 103302.

[30] Sakon Klongboonjit and Charles S. Campbell. 2008. “Convection in deep vertically shaken particle beds. III. Convection mechanisms”, Physics of fluids, October 2008 (20), 103303.

[31] Sakon Klongboonjit. 2006. “Convection in deep vertically shaken particle beds: particle tracking”, Proceedings of the 1st International Conference & 7th AUN/SEED-Net Fieldwise Seminar on Manufacturing and Material Processing, KL, Malaysia, March 14-15, pp. 625-629.

Catagory
Research Area
No tags yet.
Quick Links
bottom of page